ธันวาคม 8, 2021

อิรักยึดครองคูเวตจนถูกคว่ำบารต

อิรักยึดครองคูเวตจนถูกคว่ำบารต

 สงครามอ่าวเปอร์เซียสืบเนื่องมาจากสงครามอิรักอิหร่านที่ได้ทำสงครามในปีคริสต์ศักราช 1981 ถึง 1988  อิรักยึดครองคูเวตจนถูกคว่ำบารต โดยอิรักได้รับการสนับสนุนจากชาติตะวันออกกลางรวมทั้งชาติตะวันตกอย่างสหรัฐเนื่องจากมีความเกรงกลัวขยายอิทธิพลอิหร่านเข้ามาในประเทศตะวันออกกลาง 

ส่งผลของสงครามในครั้งนี้จึงทำให้อิรักต้องเผชิญกับสภาวะล้มละลายและเป็นหนี้ซาอุดิอาระเบียและคูเวตเป็นจำนวนมากเนื่องจากว่าใช้เงินเป็นจำนวนมากไปกับการทำสงครามด้วยเหตุนี้หลังสงครามอิรักอิหร่านได้ยุติลงทางอิรักได้เรียกร้องให้ทั้งสองชาตินี้ยกหนี้ที่ตนติดค้างอยู่ให้แต่ทว่าได้รับการปฏิเสธ 

นอกจากนี้อิรักได้กล่าวหาคูเวตได้ลักลอบขุดน้ำมันของอิรักและได้อ้างความชอบธรรมเหนือคูเวตในฐานะที่เคยเป็นจังหวัดหนึ่งของอาณาจักรออตโตมันซึ่งอิรักถือว่าตนมีสิทธิปกครองคูเวตจาก auto มันยังอ้างว่าคูเวตขึ้นอยู่กับแขวงBrsraและเป็นส่วนหนึ่งของอิรักมาโดยตลอด 

แต่ประเทศคูเวตได้มีประเทศสหรัฐคอยหนุนหลังธุรกิจน้ำมันจึงทำให้ทั้งคู่มีความบาดหมางกันจนเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม คริสต์ศักราช 1990 กองกำลังอิรัก 1แสนคนและรถถังจำนวน30คันภายใต้การนำของประธานาธิบดีซัดดัมฮุสเซนได้บุกเข้ายึดคูเวตแบบที่ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนคณะรัฐมนตรีสหรัฐแห่งประชาชาติ 

จึงได้มีมติให้ชาติสมาชิกดำเนินการใช้กำลังต่อสู้กับผู้ที่ใช้กำลังรุกรานยึดครองประเทศอื่นพร้อมทั้งขีดเส้นใต้ให้ทหารอิรักถอนกำลังออกจากคูเวต ภายในวันที่ 15 มกราคมคริสต์ศักราช 1991 และได้ลงมติคว่ำบาตรทางการค้า ห้ามซื้อน้ำมันจากอิรักให้ธนาคารทั่วโลกอายัดทรัพย์สินของอิรักและคูเวต 

นอกจากนี้ประเทศซาอุดิอาระเบียได้เรียกร้องให้สหรัฐอเมริกาและชาติพันธมิตรให้เข้ามาช่วยป้องกันคูเวตทางด้านฝ่ายประธานาธิบดีซัดดัมฮุสเซนกวีรักไม่ยอมถอนกำลังทหารออกจากคูเวตตามคำสั่งสหประชาชาติกองกำลังสหประชาชาติภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรกว่า 30 ประเทศได้ร่วมกับกลุ่มสันนิบาตกว่า 30 ประเทศร่วมปฏิบัติการทางทหารที่ชื่อว่ายุทธการพายุทะเลทราย

ซึ่งหลังจากการโจมตีทางอากาศอย่างรุนแรงเป็นเวลานานกองกำลังสหประชาชาติที่นำ  www.ufabet.com ลิ้งเข้าระบบโดยสหรัฐได้เคลื่อนทัพเข้าปลดปล่อยคูเวตทหารอีรักจำนวนมากถูกจับตัวเป็นเฉลยระหว่างถอนทัพออกจากคูเวต

หลังจากที่กองกำลังสหประชาชาติสามารถปลดปล่อยคูเวตได้แล้วก็ได้ยกทัพเข้าสู่อิรักในเวลาต่อมาอิรักยอมลงนามยุติการสู้รบเป็นผลทำให้อิรักถูกควบคุมอย่างเข้มงวดตรวจสอบอาวุธรวมไปถึงถูกคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจส่งผลทางศักยภาพของกองทัพที่ไม่สามารถมีอาวุธสมรรถนะสูงขาดแคลนอะไหล่งบซ่อมบำรุงระบบเตือนภัยทางอากาศเรดาร์เตือนภัยอาวุธต่อสู้ทางอากาศยาน

เรียกได้ว่าถูกควบคุมศักยภาพทางกองทัพรวมทั้งตรวจสอบอุปกรณ์ที่ทำลายการสร้างอาวุธนิวเคลียร์อีกด้วยจดอิรักไม่สามารถรับมือการโจมตีทางอากาศของสหรัฐได้อีก

ประวัติ ประเพณี วัฒนธรรม
อดีต-ปัจจุบัน