กุมภาพันธ์ 14, 2020

ประเพณีของฝนด้วยกันใช้แมวดำ

ประเพณีของฝนด้วยกันใช้แมวดำ

          ที่ต้องมาพูดถึงประเพณีขอฝนในตอนนี้ทั้งที่ไม่ใช่หน้าฝนเพราะอยากให้ฝนตกเหลือเกิน เพื่อปัญหาฝุ่น PM2.5  หากมีฝนตกลงมาบ้างฝนคงจะช่วยชะล้างฝุ่นที่ลอยอยู่ภายในอากาศออกไปบ้าง เด็กๆหรือแม้แต่ผู้ใหญ่อย่างเราๆจะได้สามารถออกมาเดินนอกบ้านได้อย่างสบายใจไม่ต้องเดินแบบใส่หน้ากากอนามัยเพราะกลัวสูดฝุ่นเข้าไปในปอดแล้วจะมีอันตราย

ซึ่งหากฝนยังไม่ตกอยู่อย่างนี้ประเทศไทยคงถึงขั้นวิกฤตแน่ เพราะตอนนี้ตื่นเช้าขึ้นมาแทนที่จะพบกับอากาศที่สดใส แต่กลับเจอแต่หมอกคลุ้งเต็มท้องฟ้าไปหมด ซึ่งโรงเรียนหลายแห่งงดการเรียนการสอนไปเลยเพื่อความปลอดภัยของเด็กๆ

และบางที่ยังคงเปิดเรียนก็งดกิจกรรมหน้าเสาธง ดังนั้นเมื่อเราให้ฝนตกแล้วฝนไม่ตกจึงอยากให้ลองนำประเพณีเก่าแก่อย่างประเพณีของฝนมาใช้ดูเผื่อว่าจะสำเร็จทำให้ฝนตกลงมาปัดเป่าฝุ่น PM2.5 ให้พ้นไปจากประเทศไทยได้

สำหรับประเพณีของฝนนี้ปัจจุบันยังมีการทำกันอยู่บ้านแต่ไม่มากแล้ว

จะมีแต่ตามต่างจังหวัดและทำกันเฉพาะในหมู่บ้านเล็กๆที่มีความเชื่อตามคนโบราณกันอยู่ ซึ่งประเพณีเริ่มมีมาตั้งแต่ตอนไหนไม่มีใครรู้แต่ที่รู้ๆ ชาวบ้านจะร่วมใจกันมารวมตัวกันที่หน้าบ้านผู้ใหญ่บ้านโดยมีการเตรียมแมวดำมาด้วยหนึ่งตัว ซึ่งจะเตรียมใส่กรงไว้แล้วพากันแห่เดินตามถนนในหมู่บ้านโดยพยายามให้เดินผ่านให้ครบทุกบ้านและระหว่างที่เดินแห่นั้นจะมีคนทำพิธีคอยสวมมนต์อ้อนวอนขอให้ฝนตก บางหมู่บ้านก็จะพากันแห่แมวและสวดมนต์อ้อนวอนขอฝนธรรมดา แต่บางหมู่บ้านก็จะมีการสาดน้ำใส่แมวเป็นระยะและนำมาเรียวเคาะกับกรงแมวที่ใช้แห่

ซึ่งกระทำแบบนี้ถือว่าเป็นการทรมานสัตว์ ในปัจจุบันจะมีการถูกตำรวจจับได้ แต่ในสมัยโบราณวิธีการนี้จะเป็นการของให้เทพเจ้าประทานฝนลงมาให้ เพื่อให้ชาวบ้านได้มีน้ำใช้สำหรับทำไร่ ทำนา ซึ่งการปฏิบัติแบบนี้ติดต่อกันมาทุกครั้งที่มีการทำก็มักจะมีฝนตกลงมาตามที่ชาวบ้านอธิฐานดังนั้นประเพณีนี้จึงยังคงอยู่

แต่ก็คือว่าน้อยลงมากแล้ว เพราะคนรุ่นใหม่ที่ได้รับการเรียนหนังสือจะเข้าใจได้ว่าการตีแมวแล้วนำแมวมาแห่ไม่ได้ช่วยให้ฝนตกแต่อย่างใด แต่ก็ยังมีบางหมู่บ้านที่ยังคงอนุรักษ์ประเพณีนี้เอาไว้ แต่ก็ไม่รู้ว่าจะมีประเพณีสืบทอดกันอีกนานแค่ไหน เพราะคนรุ่นใหม่ไม่สนใจต่อไปก็คงจะลืมเลือนประเพณีของไทยอันนี้ไปแน่นอน

 

สนับสนุนโดย  Gclub ฝากขั้นต่ำ50

ประวัติ ประเพณี วัฒนธรรม
อดีต-ปัจจุบัน